

- 26 ต.ค. 2559
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 4 : จบแล้วจะมีงานทำไหม และทำงานอะไรได้บ้าง ?
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 4 : จบแล้วจะมีงานทำไหม และทำงานอะไรได้บ้าง ? คำตอบ : ขึ้นอยู่กับความสามารถ งานด้านดนตรีเป็นงานที่เกี่ยวกับความสามารถโดยตรง ถือเป็นประเภทฟรีแลนท์เลยก็ว่าได้ ยกเว้นคนที่จบไปทำงานสายครูได้เงินเดือนประจำ แบบนั้นก็มีความมั่นคงไปอีกแบบ แต่ถ้าไม่ได้เป็นครูประจำในรร.ต่างๆ อันนี้ต้องวัดกันที่ความสามารถส่วนบุคคลแล้วล่ะ งานสายดนตรีผมแบ่งจากประสบการณ์ได้เป็น สายเล่น (นักดนตรีประจำ,อีเว้นท์) อันนี้ฝีมือล้วนๆ เอนเตอร์เทรนดี คุมเวทีได้ดีก็มีงานเข้ามาเรื่อ


- 26 ต.ค. 2559
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 3 : เรียนสายดนตรีเขาเรียนอะไรบ้าง เล่นดนตรีอย่างเดียวเลยหรือเปล่
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 3 : เรียนสายดนตรีเขาเรียนอะไรบ้าง เล่นดนตรีอย่างเดียวเลยหรือเปล่า ? คำตอบ : ไม่ได้เล่นดนตรีอย่างเดียวแน่นอน การเรียนสายดนตรีที่ผมบอกไว้ใน Part 1 ว่ามีหลายสาขา (กลับไปอ่านเพิ่มเติมได้ที่ "พาร์ทที่ 1" ) สายที่ดูน่าจะเกี่ยวกับเล่นมากที่สุดก็คือสายเล่น (Performance) ซึ่งก็ไม่ได้เรียนวิชาเครื่องเอกทุกวันติดต่อกัน วิชาเครื่องเอกจะเรียน1ครั้งต่อสัปดาห์เหมือนเราเรียนดนตรีตามสถาบันสอนดนตรีทั่วไป เวลาที่เหลือจะเป็นวิชาอื่นๆแล้วแต่หลักสูตรของแต่ละที่


- 25 ต.ค. 2559
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 2 : เริ่มเรียนตอนอายุมากแล้วหรือซิ่วมาจากคณะอื่นจะเรียนได้ไหม
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part 2 : เริ่มเรียนตอนอายุมากแล้วหรือซิ่วมาจากคณะอื่นจะเรียนได้ไหม คำตอบ : ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของแต่ละคน แนะนำให้อ่านต่อ ผมได้รับคำถามหลายครั้งจากคนอายุ 30+ ว่าอยากทำตามฝันโดยการเข้าไปเรียนสายดนตรีในมหาลัยเป็นเรื่องเป็นราว เป็นไอเดียที่ดีไหม ที่จริงแล้วไม่แค่สายดนตรีแต่ก็ทุกสายทุกคณะ การเข้าไปเริ่มเรียนในมหาลัยฯต้องยอมรับว่าความรับผิดชอบต่อการเรียนค่อนข้างสูง ซึ่งส่วนมากคนอายุ 30+ มักจะมีอาชีพการงานหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ ต้องถามตัวเองว่าความพ


- 25 ต.ค. 2559
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part1 : ต้องเล่นดนตรีเป็นมาก่อนหรือต้องมีประสบการณ์มาก่อนไหม ?
การเรียนต่อสายดนตรีระดับ ป.ตรี Part1 : ต้องเล่นดนตรีเป็นมาก่อนหรือต้องมีประสบการณ์มาก่อนไหม ? คำตอบ : ไม่ทั้งหมด ขึ้นอยู่กับสาขาที่เลือกเรียนอีกที เพราะการเรียนสายดนตรีในมหาลัยฯก็แยกออกเป็นหลายสายอีกเหมือนกันเช่น สายเล่น (Performance), สายการสอน (Music Education), สายแต่งเพลง (Composition), ธุรกิจดนตรี (Music Business), เทคโนโลยีดนตรี (Music Technology), ดนตรีสมัยนิยม (Popular music), และอื่นๆอีกมากมายแยกย่อย แต่ละสายใช้ความสามารถทางดนตรีแตกต่างกันไป ที่ดูจะต้องหมกมุ่นกับการซ


- 1 ต.ค. 2559
การเรียนดนตรีมักมีจุดวัดใจอยู่ตลอดเส้นทาง
ไม่ว่าจะเด็กหรือผู้ใหญ่ เมื่อเราเริ่มเรียนดนตรีไปได้สักระยะมักจะเจอกับความรู้สึกเบื่อ รู้สึกเฉยๆกับมัน รู้สึกไม่มีอะไรน่าตื่นเต้นเท่าเมื่อก่อน รู้สึกขี้เกียจซ้อมหรือรู้สึกเวลาซ้อมน้อยลง(ทั้งๆที่เมื่อก่อนหาเวลาซ้อมได้ตลอด) หลายคนที่เกิดความรู้สึกนี้ก็เลิกเล่นดนตรีไปมากมาย... ส่วนตัวผมมองว่าเป็นเรื่องปกติที่หลายคนเจอ ส่วนตัวผมเคยเจอความรู้สึกนี้หลายครั้ง ครั้งนึงก็ตอนม.ปลายที่ผมเบื่อๆไป รู้สึกว่าตัวเองไม่รู้จะฝึกอะไรต่อ(เป็นรุ่นพี่เขาด้วยแหละตอนนั้น มีแต่คอยสอนรุ่นน้อง) แต่ความ